|
|
|

  
 |
เนื่องจากเทศบาลตำบลท่าสายลวดเป็นพื้นที่ชายแดน ติดกับประเทศเมียนม่าร์ ประกอบกับในเขตเทศบาลตำบลท่าสายลวดส่วนใหญ่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้มีประชาชนหลายสัญชาติเข้ามาประกอบอาชีพ ทั้งค้าขาย การอุตสาหกรรมต่างๆ เป็นจำนวนมาก แต่ประชาชนก็สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข โดยในเขตเทศบาลตำบลนี้ ชาวบ้านมีศาสนาเป็นหลักยึดเหนี่วจิตใจ มีการนับถือศาสนาที่แตกต่างและหลากหลาย แต่ชาวบ้านก็ยังคงมีความแอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และอยู่ด้วยกันได้โดยไม่มีปัญหา |
|
|
|
|
|

  
 |

 |
การนับถือศาสนาของประชาชน |
|
|

 |
นับถือศาสนาพุทธ |
ร้อยละ 98.5 |
|

 |
นับถือศาสนาคริสต์ |
ร้อยละ 1 |
|

 |
นับถือศาสนาอิสลาม |
ร้อยละ 0.5 |

 |
ศาสนสถาน |
|
|

 |
วัดไทยวัฒนาราม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|

 |
วัดไตรวัฒนาราม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|

 |
วัดท่าสายโทรเลข |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 |
|

 |
วัดหนองกิ่งฟ้า |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 |
|

 |
วัดอมราวดี |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 |
|

 |
โบสถ์คริสต์ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|
|
|
|
สถานศึกษาระดับต่างๆ ในพื้นที่เทศบาลตำบลท่าสายลวดมี จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ |
|
|

  
 |

 |
สถานศึกษาในสังกัดของเทศบาลฯ มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลท่าสายลวด ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 |

 |
สถานศึกษาในพื้นที่ (สังกัดสำนักงานเขตการศึกษาตากเขต 2) |
|
|
|
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|

 |
โรงเรียนบ้านแม่ตาว ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|
|
|
|
  |
โรงเรียนบ้านห้วยม่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 |
|
|
|

 |
สถานศึกษาเอกชน |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|

 |
โรงเรียนภัทรวิทยา ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|
|
|
|

 |
โรงเรียน CDC ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|
|
|

 |
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำชุมชน/หมู่บ้าน |
จำนวน |
5 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
 
   
  |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสายลวด |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
คลินิกเอกชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
 
   
  |
|

 |
ชุดรักษาความสงบภายในหมู่บ้าน (ชรบ.) |
|
|
จำนวน |
4 |
หมู่บ้าน |

 |
ชุดหน่วยการแพทย์ฉุกเฉิน (กู้ภัย) บ้านแม่ตาว |
|
|
จำนวน |
1 |
ชุด |

 |
อาสาสมัครลูกเสือชาวบ้าน |
จำนวน |
274 |
คน |
|
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลท่าสายลวด มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนม่าร์ ประชาชนของทั้งสองประเทศมีการไปมาหาสู่ และแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกันอยู่เสมองานประเพณีจึงเป็นการผสมผสานทางวัฒนธรรมงานประเพณีที่น่าสนใจ คือ |
|
|

  
 |

 |
ประเพณีแห่ส่างลอง (แห่ลูกแก้ว) |
|
จะจัดในช่วงกลางเดือนมีนาคม - ต้นเดือนเมษายน ผู้ปกครองจะส่งบุตรหลานเข้าบวช คือเป็นการอนุรักษ์ประเพณีดั้งเดิมของชาวไทยใหญ่ |

 |
ประเพณีสงกรานต์เมือง |
|
เป็นการร่วมกิจกรรมของชาวไทย ชาวพม่าทั้งในฝั่งไทยและฝั่งพม่า มีการแข่งขันการกีฬาพื้นเมืองเชื่อมความสัมพันธ์รวมถึงการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุที่เคารพนับถือ |

 |
ประเพณีลอยกระทง |

 |
ประเพณีตลาดสวรรค์ |
|
|
|
|
|

  
 |

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
ประชาชนในเขตเทศบาลได้อนุรักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน ทำขนมไทย ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถิ่น ดนตรีและการแสดงท้องถิ่น และการทำดอกไม้หยก ต้นหยก |

 |
ผู้นำด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|

 |
นางจันฟอง คงกระจ่าง ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำต้นไม้หยกสู่โรงเรียนและชุมชน |
|

 |
นายสายัณห์ เพียงใจวงษ์ (ลุงหนวด) ได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปะท้องถิ่น เช่น การทำเครื่องดนตรี สะล้อ ซอ ซึง และสอนวิธีการเล่นสะล้อ ซอ ซึง ให้กับคนในชุมชนและเยาวชนที่สนใจ |

 |
ภาษาถิ่น |
|
ภาษาถิ่น พูดภาษาไทยล้านนา (ภาษาเหนือ) และ ภาษาไทยใหญ่ |
|
|
|